วันอาทิตย์, พฤษภาคม 19, 2024

ทพ.เฉลิมพร พรมมาส

24 โพสต์0 ความคิดเห็น
http://www.c-prommas.com
วุฒิบัตรเฉพาะทางสาขาปริทันตวิทยา ราชวิทยาลัยทันตแพทย์แห่งประเทศไทย อาจารย์พิเศษ คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล และเป็น Course Director และ วิทยากรในงานทัตกรรม ทั้ง Perio , Ortho และ Dental Impant Surgery

Coming event : 31 พฤษภาคม – 1 มิถุนายน 2567 คอร์ส Perio-Surgery 2 days hands on รุ่นที่ 16

ในคอร์สนี้จะแบ่งการเรียนออกเป็น 2 ส่วน และผู้เข้าร่วมสามารถเลือกเรียนเฉพาะ Online หรือ Onsite ที่เป็น 2 days workshop  ส่วนที่ 1 : Online lecture & Surgery clip (Course Online) เป็นส่วนเลคเชอร์ออนไลน์ ในส่วนนี้การเรียนผู้เข้าร่วมจะได้เรียนในกลุ่มเฟสบุ๊ค private 1-1 ทพ.เฉลิมพร...

รวมภาพวิทยากรและบรรยากาศในงาน Complications in orthodontics mastering prevention, and correction techniques (24/2/67)

อยากใช้พื้นที่นี้ขอบพระคุณวิทยากรและแขกผู้มีเกียรติทุกท่านในงานอบรม 24 กุมภาพันธ์ 2567 ที่ผ่านมา "Complications in orthodontics ,Mastering prevention and correction techniques" ขอบพระคุณอาจารย์แบ้งค์แห่ง OLL training center ที่มาร่วมแชร์ความรู้และประสบการณ์ในงานจัดฟัน ขอบพระคุณอาจารย์ทิว เพจ หมอฟันทันกฎหมาย ที่มาเปิดโลกแห่งกฎหมายให้พวกเราได้ตื่นตัว (รู้จะทุกท่านจะตาลุกวาวเป็นพิเศษเมื่ออาจารย์เล่าเคสกฎหมายว่าคนไข้เขาฟ้องร้องหมอฟันทีละหลักหลายล้าน) และสำคัญที่สุด ขอบพระคุณคุณหมอทุกท่านที่ลงทะเบียนมาฟัง หวังว่าเราจะมีโอกาสพบกันอีกในเวทีต่อๆไปของ C-Prommas

3 top periodontal complications ที่พบบ่อยในระหว่างการจัดฟัน

ธรรมชาติของการเคลื่อนฟันในทางทันตกรรมจัดฟันไม่ว่าจะเป็นแบบติดเครื่องมือ(แบบโลหะ)หรือแบบใสก็ตาม ล้วนอาศัยการส่งผ่านแรงไปยังอวัยวะปริทันต์ (..เหงือก, cementum, PDL และalveolar bone).  เพื่อให้เกิดการremodelของอวัยวะเหล่านั้นที่ได้รับแรง และส่งผลให้ฟันสามารถเคลื่อนที่จากตำแหน่งหนึ่งๆไปยังบริเวณข้างเคียงได้ ซึ่งแท้จริงแล้วการremodelดังกล่าวนี้ เปรียบเสมือนการadaptationของอวัยวะปริทันต์ให้เข้ากับenvironmentใหม่ที่อยู่ล้อมรอบ/หรือที่มากระทำกับรากฟันในตำแหน่งนั้นๆ  การadaptationเหล่านี้เกิดขึ้นในระดับcell (bone cell, PDL cell, fibroblast, …เป็นต้น) โดยการinteractionระหว่างcellเปรียบเสมือนการสื่อสารระหว่างกัน การสื่อสารต่างๆเหล่านั้นพบว่าอาศัยกลุ่มชุดproteinที่จำเพาะ ยกตัวอย่างเช่นกลุ่มproteinที่เราเรียกกันว่าcytokine.  Cytokineชนิดต่างๆที่ถูกปล่อยออกมานั้นมีอิทธิพลให้ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นจากการสื่อสารนี้เป็นไปได้หลากหลาย เช่น การเกิดการ deposition (สร้าง),...

24 กุมภาพันธ์ 2567 งานบรรยาย Perio-Ortho Complication

งานสัมมนาครั้งสำคัญของปี 2567 Complications in orthodontics mastering prevention, and correction techniques งานที่จะช่วยให้ทันตแพทย์ทุกท่านที่ทำงานจัดฟันสามารถให้การรักษาออกมาอย่างมีคุณภาพ ไร้กังวล และ รับมือกับผลข้างเคียงต่างๆในกระบวนการจัดฟันได้อย่างรู้จริง งานนี้ จึงเหมาะอย่างยิ่งสำหรับทันตแพทย์ทุกท่านที่ให้บริการด้านจัดฟันอยู่ ไม่ว่าท่านจะเป็นทันตแพทย์ทั่วไปหรือทันตแพทย์เฉพาะทาง รวมถึงทันตแพทย์ที่สนใจด้านจัดฟัน งานจัดฟันเป็นงานที่ยาก มีรายละเอียดเยอะและซับซ้อน อีกทั้งมีผลข้างเคียงทั้งทางตรงทางอ้อมมากมาย และอาจเกิดความเสียหายที่ถาวรหรือชั่วคราวได้เสมอ ทันตแพทย์ที่ทำงานด้านจัดฟันไม่ว่าจะเป็นทันตแพทย์ทั่วไปหรือเฉพาะทาง จำเป็นจะต้องมีความรู้และรู้จริงในการป้องกันและแก้ไขผลข้างเคียงที่ไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นในกระบวนการจัดฟันตั้งแต่ต้นจนจบ ทพ.เฉลิมพร พรมมาส (หมอเต้ย) งานครั้งนี้นำโดยวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ...

22-23 มีนาคม 2567 คอร์ส Perio-Surgery 2 days hands on รุ่นที่ 15

ในคอร์สนี้จะแบ่งการเรียนออกเป็น 2 ส่วน และผู้เข้าร่วมสามารถเลือกเรียนเฉพาะ Online หรือ Onsite ที่เป็น 2 days workshop ส่วนที่ 1 : Online lecture & Surgery clip (Course Online) เป็นส่วนเลคเชอร์ออนไลน์ ในส่วนนี้การเรียนผู้เข้าร่วมจะได้เรียนในกลุ่มเฟสบุ๊ค private 1-1...

Certification in Periodontal Surgery : LASER & Electro-Surgery

คอร์สนี้เป็นการร่วมมือระหว่างคณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี และ C-Prommas Training center ในการจัดหลักสูตร Certification in Periodontal Surgery : LASER & Electo-Surgery หมอที่เริ่มฝึกทำงานเหล่านี้เกิดความกังวลใจในการให้การรักษา รวมทั้งconventional technique บางอย่างมี technique sensitivity อยู่ ซึ่งส่งผลต่อ outcome...

การทําesthetic CLในเคสที่มีfrenumเกาะสูง

“ว่าด้วยเรื่องการทำesthetic CLในเคสที่มีfrenumเกาะสูง” ย้อนกลับไปเบสิคว่า… Frenumที่อาจก่อให้เกิดพยาธิสภาพคือ  -frenumที่เกาะชิดขอบเหงือกเลย หรือใกล้ขอบเหงือกจนkeratinizedเหลือน้อยมาก,  -frenumที่เกาะสูงจนทำให้vestibuleตื้นมากๆ -frenumที่ทำให้ขอบเหงือกขยับเมื่อคนไข้ขยับแก้ม, ขยับริมฝีปาก, หรือเมื่อเราลองtestด้วยการmold muscleดู พบว่าขอบเหงือกขยับตามไปด้วย -frenumที่เมื่อเราลองขยับดูแล้วพบว่าเกิดสีขอบเหงือกหรือIDPที่ซีดลง (เกิดลักษณะischemiaบริเวณขอบเหงือกหรือIDP) -frenumที่สัมพันธ์กับlocalized recession,  -frenumที่ใหญ่มากๆจนดึงรั้งให้ริมฝีปาก/ลิ้นผิดรูปมาแนบรั้งกับfrenumชิ้นนี้, -frenumที่ใหญ่จนขัดขวางการดูแลoral hygieneของคนไข้, -frenumที่ใหญ่และสัมพันธ์กับการเกิดmedial diastema โดยในกรณีการทำesthetic CLในเคสที่มีfrenumเกาะสูงนั้น ส่วนตัวผมแล้วสามารถให้การรักษาโดยวางtreatment planได้หลายทางขึ้นอยู่กับว่าfrenumเคสนั้นๆเกาะสูง(เกาะใกล้ขอบเหงือก)มากน้อยขนาดไหน  กล่าวคือ... กรณีที่1 ถ้าfrenumเกาะสูงใกล้ขอบเหงือกมาก แทบไม่เหลือkeratinizedเลย(<2mm) บางรายเกาะชิดขอบเหงือกเลยก็มี  หากคุณหมอเจอเคสแบบนี้จำเป็นต้องทำfrenectomyก่อนการทำesthetic CL (แบ่งเป็น 2 stage) โดยปกติเคสCLที่ต้องมีการทำfrenectomyผมมักจะเลือกเทคนิคfrenectomyที่จะได้keratinizedเพิ่มหลังทำ...

ไฟล์ และ รูป ตัวอย่างการฟอกสีเหงือกด้วย Diode LASER

สำหรับคุณหมอท่านใดต้องการภาพและคำอธิบายเกี่ยวกับการฟอกสีเหงือกให้คนไข้ดู ผมได้ทำเป็นไฟล์ PDF ไว้ให้ในลิ้งนี้ คุณหมอสามารถ download ไปเพื่อเอาไปใช้อธิบายให้คนไข้เข้าใจ (Download ลิ้ง PDF) ส่วนคุณหมอท่านใดอยากมีทักษะและรู้เทคนิคในการใช้ LASER เรามีคอร์สที่จะสอนเป็นหลักสูตร Certification และได้ทำจริงเลยในวันที่ 12-13 พค.66 นี้ (ลิ้ง) รับจำนวนจำกัด

การทำFiberotomyเพื่อแก้ไขการคืนกลับของฟันที่ผ่านการแก้ไขฟันบิดหมุน

“การทำFiberotomyเพื่อแก้ไขการคืนกลับของฟันที่ผ่านการแก้ไขฟันบิดหมุน” (Circumferential supracrestal fiberotomy in Rotational-Relapsed tooth) บ่อยครั้งในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟันที่คุณหมอหลายท่านมักจะมองว่าสิ่งสำคัญที่สุดของการรักษา คือการเคลื่อนฟันให้ไปอยู่ในตำแหน่งที่เราต้องการได้, แก้ไขฟันที่ซ้อนเกได้, การปิดช่องว่างที่มีอยู่หรือจากการถอนฟันได้ก็ดี…แต่แท้จริงแล้วไม่ใช่ว่าการรักษาในช่วงactive txนี้จะสำคัญเพียงอย่างเดียว ยังมีการรักษาอีกช่วงหนึ่งที่สำคัญมากๆ นั่นคือการรักษาในช่วงretention phase ที่…จะทำอย่างไร?ให้ฟันที่เราเคลื่อนไปเหล่านั้นยังคงอยู่ในตำแหน่งนี้ตลอดไป ดังคำกล่าวในบางบทความว่า “การรักษาช่วงretention phase ถือเป็นstepที่ยากที่สุดในการรักษาทางทันตกรรมจัดฟัน” (Edward 1970)   ดังที่เราจะพบปัญหาที่เกิดขึ้นในคนไข้หลายเคส ที่หลังถอดเครื่องมือจัดฟันออกไม่นานก็เริ่มมีประสบปัญหาการrelapseเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็น re-opening of...

What is biologic width?

Biologic width หมายถึง dimension(ระยะ)ของsoft tissueที่มีการยึดเกาะกับฟันในส่วนที่อยู่เหนือต่อcrestal boneขึ้นมา ธรรมชาติของการยึดเกาะของperiodontiumกับฟันนั้นประกอบด้วยส่วนattachmentเหนือmarginal boneขึ้นมา และattachmentที่ต่ำกว่าmarginal bone ลงไป เมื่อพิจารณาดูanatomyของperiodontium ดังรูปที่1 แล้ว เราจะมองเห็นภาพที่ชัดเจนขึ้นว่า แท้จริงแล้วส่วนของperiodontal attachmentที่อยู่ต่ำกว่าcrestal boneคือ periodontal ligament(PDL) ในขณะที่ส่วนattachmentที่อยู่เหนือต่อcrestal boneขึ้นมาคือส่วนของattachmentในflapซึ่งประกอบด้วยส่วนjunctional epithelium และconnective tissue attachment ซึ่งมีค่าประมาณของระยะนี้อยู่ที่...

ยาปิดแผลผ่าตัด (Periodontal dressing)

Periodontal dressingคือยา/วัสดุที่ใช้ปิดแผลปริทันต์ โดยทั่วไปเรามักจะคุ้นตากันกับภาพของperiodontistใช้วัสดุกลุ่มนี้ในการปิดแผลให้กับคนไข้ไปภายหลังการทำperiodontal surgery  …Periodontal dressingมันมีประโยชน์อย่างไร?? ทำไมต้องใช้ยาปิดแผลกันด้วย?? … Periodontal dressingเป็นเสมือนband-aid(พลาสเตอร์ยา)ที่ใช้สำหรับปิดแผลผ่าตัดperiodontal surgeryซึ่งว่ากันตามจริงคือวิธีการดังกล่าวถูกเริ่มนำมาใช้ในทางปริทันต์ยาวนานมาก ประมาณ100ปีมาแล้วตั้งแต่สมัยperiodontal packของDr. AW Wardปีค.ศ 1923  ถึงแม้ว่าคุณสมบัติของวัสดุในกลุ่มนี้จะไม่ได้มีผลโดยตรงกับการหายของแผล แต่เนื่องด้วยลักษณะทางกายภาพของมันที่  1. ช่วยstabilizedแผล/flapให้อยู่ในตำแหน่งเดิมไว้จากตอนimmediate post op.  2. ป้องกันการirritateแผลในช่วงearly wound healing ไม่ว่าจะเกิดจากการรับประทานอาหาร, การแปรงฟัน, การบังเอิญมาโดนแผลหรือโดนปมไหมโดยไม่ได้ตั้งใจของคนไข้เองก็ตาม...
Advertisingspot_img

Popular posts

My favorites

I'm social

0แฟนคลับชอบ
0ผู้ติดตามติดตาม
0ผู้ติดตามติดตาม